รฟม. ประกาศ ปิดพื้นที่บางส่วน ลานจอดรถ MRT สถานีห้วยขวาง ชั่วคราว

รฟม. ประกาศ ปิดพื้นที่บางส่วน ลานจอดรถ MRT สถานีห้วยขวาง ชั่วคราว

รฟม. แจ้งปิดพื้นที่บางส่วนของ ลานจอดรถ MRT สถานีห้วยขวาง เพื่อดำเนินการติดตั้งเพิ่มที่จอดรถยนต์อัตโนมัติ ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน ถึง 17 กันยายน 2565 (8 มิ.ย. 2565) การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) กระทรวงคมนาคม เตรียมดำเนินการติดตั้งที่จอดรถยนต์อัตโนมัติ หรือ Robot Parking ในบริเวณ ลานจอดรถ สถานีห้วยขวาง ของรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (MRT สายสีน้ำเงิน) เพิ่มเติมจำนวน 2 เครื่อง ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน ถึง 17 กันยายน 2565 จึงมีความจำเป็นต้องทำการปิดพื้นที่ให้บริการบางส่วนของลานจอดรถสถานีห้วยขวาง ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน 2565 เป็นต้นไป

โดยผู้ใช้บริการยังสามารถใช้ลานจอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ได้ตามปกติ ทั้งนี้ รฟม. ต้องขออภัยในความไม่สะดวกของผู้ใช้บริการมา ณ โอกาสนี้

ทั้งนี้ รฟม. ได้จัดทำโครงการเพิ่มพื้นที่จอดรถในเส้นทางรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงิน โดยได้ติดตั้งระบบที่จอดรถยนต์อัตโนมัติไปแล้ว ในบริเวณลานจอดรถของสถานีสามย่าน และสถานีห้วยขวาง โดยระบบที่จอดรถยนต์อัตโนมัตินี้จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของพื้นที่จอดรถที่มีอยู่อย่างจำกัด และอำนวยความสะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้บริการ เมื่อนำรถเข้ามาจอด ด้วยระบบเครื่องกลที่ทำหน้าที่เสมือนหุ่นยนต์รับรถขึ้นไปจอดในลักษณะซ้อนกันในแนวดิ่งที่จะช่วยย่นเวลาเฉลี่ยในการ รับ – ส่ง รถเข้าและออกจากที่จอดรถเหลือเพียง คันละ 90 วินาที และหากรถจอดชั้นไกลที่สุดจะใช้เวลาเพียง 3 นาทีเท่านั้น

โดยผู้ใช้บริการยังสามารถใช้ลานจอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ได้ตามปกติ ทั้งนี้ รฟม. ต้องขออภัยในความไม่สะดวกของผู้ใช้บริการมา ณ โอกาสนี้

ทั้งนี้ รฟม. ได้จัดทำโครงการเพิ่มพื้นที่จอดรถในเส้นทางรถไฟฟ้า MRT สายสีน้ำเงิน โดยได้ติดตั้งระบบที่จอดรถยนต์อัตโนมัติไปแล้ว ในบริเวณลานจอดรถของสถานีสามย่าน และสถานีห้วยขวาง โดยระบบที่จอดรถยนต์อัตโนมัตินี้จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของพื้นที่จอดรถที่มีอยู่อย่างจำกัด และอำนวยความสะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้บริการ เมื่อนำรถเข้ามาจอด ด้วยระบบเครื่องกลที่ทำหน้าที่เสมือนหุ่นยนต์รับรถขึ้นไปจอดในลักษณะซ้อนกันในแนวดิ่งที่จะช่วยย่นเวลาเฉลี่ยในการ รับ – ส่ง รถเข้าและออกจากที่จอดรถเหลือเพียง คันละ 90 วินาที และหากรถจอดชั้นไกลที่สุดจะใช้เวลาเพียง 3 นาทีเท่านั้น

แต่เนื่องจากโรคฝีดาษลิงเกิดขึ้นในประเทศที่ยากจนและอยู่ห่างไกลจากประเทศที่พัฒนาแล้ว ปัญหาจึงไม่ได้รับการเหลียวแลแก้ไขเท่าที่ควร แม้ว่าสาธารณสุขไนจีเรียได้ร้องขอความช่วยเหลือเรื่องการระบาดของไวรัสฝีดาษลิงจากประชาคมโลกมาโดยตลอดก็ตาม ในปี 2560 ได้เกิดการระบาดของโรคฝีดาษลิงอย่างไม่ปรกติในยุโรป สหราชอาณาจักร และอิสราเอล จากผู้ที่เดินทางมาจากไนจีเรีย แต่โรคก็ถูกควบคุมให้สงบลงได้ (ภาพ 2-3)

WHO แถลงว่าไวรัสฝีดาษลิงไม่ใช่เชื้อไวรัสที่ติดต่อ “ผ่านสารคัดหลั่งในช่องคลอดและอสุจิขณะการมีเพศสัมพันธ์” เหมือนเชื้อไวรัสเอชไอวี หรือไวรัสตับอักเสบ C ซึ่งจะสามารถแพร่กระจายผ่านทางน้ำอสุจิและของเหลวในช่องคลอด (ยังไม่มีข้อมูลว่าพบไวรัสฝีดาษลิงในน้ำอสุจิและของเหลวในช่องคลอดของผู้ติดเชื้อ) แต่สามารถติดต่อได้ “ระหว่างการมีเพศสัมพันธ์” ได้เช่นเดียวกับโรคหวัด และโควิด-19 เพราะเป็นโรคติดต่อจากการสัมผัสใกล้ชิด

แม้ว่าในการระบาดล่าสุดของไวรัสฝีดาษลิงจะแพร่กระจายในหมู่ผู้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายหรือเกย์ ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นโรคติดต่อเฉพาะในกลุ่มชายรักชาย ทุกคนไม่ว่าเพศใด อายุใด มีโอกาสติดเชื้อไวรัสฝีดาษลิงได้เช่นกัน

‘อนุทิน’ ชี้ไม่จำเป็นต้องมีคำสั่ง ถอดแมสก์ ชี้ไม่บังคับสวมแมสก์

อนุทิน ชี้ไม่จำเป็นต้องออกคำสั่ง ถอดแมสก์ ชี้ ไม่บังคับสวมแมสก์ แต่เป็นคำแนะนำเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 นาย อนุทิน ชาญวีรกูล รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขได้ให้สัมภาษณ์ประเด็นเรื่องการถอดหน้ากากอนามัย ณ ที่โรงแรมมิราเคล แกรนด์ คอนเวนชั่น

โดยนายอนุทินกล่าวว่า กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) มีความพยายามในการคืนความเป็นปกติสุขให้ประชาชนมากที่สุด มีการพูดถึงการถอดหน้ากากอนามัย อันนี้ก็เป็นเป้าหมายของ สธ. แต่เราต้องใช้ความเข้าใจของแต่ละคนด้วย หากเราประเมินความเสี่ยงได้ เราก็สามารถเลือกสวมหน้ากาก แต่คงไม่มีประกาศให้ถอดหน้ากากได้เช่นนั้น แต่ให้ประเมินสถานการณ์เองด้วยความเข้าใจและประสบการณ์ที่ผ่านมา 2 ปี จะสวมก็สวม จะถอดก็ถอด

ขณะนี้ไม่ต้องมีคำสั่ง หรือประกาศให้ถอดหน้ากากอนามัย เพราะตอนที่สวมหน้ากากก็ไม่มีคำสั่ง แต่เป็นแนวปฏิบัติเพื่อให้ปลอดภัยและลดความเสี่ยงจากโควิด-19 ทั้งนี้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี รวมถึงแพทย์ก็ยังมีคำแนะนำให้สวมหน้ากาก ประเมินสถานการณ์เสี่ยงนั้นๆ เช่น เราอยู่กันหลายคน ที่ไม่สามารถทราบได้ว่าแต่ละคนมีความเสี่ยงอย่างไร ก็ยังควรสวมหน้ากากอยู่ แต่หากไปงานสังสรรค์กันเอง ตรวจ ATK ไม่พบเชื้อ ไม่มีความเสี่ยงอะไรมา เช่น ผับ บาร์ กิจกรรมรวมกลุ่มคน ประเมินความเสี่ยงแล้วก็สามารถถอดหน้ากากได้

“แต่หากไม่ลำบากจนเกินไป การสวมหน้ากากตลอดเวลา สธ.ก็ยังแนะนำอยู่ เพื่อนสร้างความมั่นใจว่าความเสี่ยงน้อยที่สุด” นายอนุทินกล่าว

Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป