ผู้ตรวจการแผ่นดิน ตีตกคำร้อง ประยุทธ์หมดวาระ นั่งนายก 8 ปี เหตุไม่อยู่ในอำนาจพิจารณาส่งศาลรัฐธรรมนูญ ประยุทธ์หมดวาระ การประชุมผู้ตรวจการแผ่นดิน วันที่ 17 ส.ค.ที่ผ่านมา ที่ประชุมมีมติให้ยุติเรื่องกรณี นายศรีสุวรรณ จรรยา เลขาธิการสมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย ขอให้พิจารณาและมีความเห็นส่งให้ศาลรัฐธรรมนูวินิจฉัยปัญหาวาระการดำรงตำแหน่ง 8 ปี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ภายหลังการพิจารณา ที่ประชุมผู้ตรวจการแผ่นดินเห็นว่า
คำร้องดังกล่าวไม่ใช่การขอให้พิจารณาว่า บทบัญญัติของกฎหมายใดมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ตามที่พ.ร.ป.ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน2560 มาตรา23(1) กำหนดให้ผู้ตรวจการแผ่นดินมีอำนาจส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
แต่เป็นเรื่องของคุณสมบัติการดำรงตำแหน่งทางการเมือง ที่รัฐธรรมนูญมาตรา170 วรรคสาม ให้กกต.หรือ ส.ส.จำนวน 1 ใน 10 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เข้าชื่อยื่นต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยได้ จึงเป็นเรื่องที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ขององค์กรอิสระอื่น ที่พ.ร.ป.ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินมาตรา 37(4) กำหนดห้ามไม่ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินรับไว้พิจารณา โดยขณะนี้ผู้ตรวจการแผ่นดินอยู่ระหว่างการจัดทำคำวินิจฉัยและมีหนังสือแจ้งผู้ร้อง
ก่อนหน้านี้ตัวของเดปป์ ยอมรับว่าเขาและอดีตภรรยาเคยทะเลาะกัน แต่ไม่มีครั้งไหนที่เขาลงมือทำร้ายร่างกายของ เฮิร์ด และเขายืนกรานด้วยว่า เขาไม่เคยทำร้ายผู้หญิงคนไหนในชีวิตของเขาเลยด้วยซ้ำ ในส่วนของประเด็นการใช้ยาเสพติดนั้น เดปป์ ระบุว่า เขาไม่ได้ใช้ยาเพื่อความสนุก แต่เขาใช้ยาเพื่อหลบหนีชีวิตที่ยุ่งเหยิงจากการถูกแม่ทำร้ายร่างกาย
รวมถึงยังมีการเล่าวินาทีที่ขี้บนเตียงอีกด้วย โดย เดปป์ กล่าวหาว่า เฮิร์ด หรือ เพื่อนของเธอขี้บนเตียงเขา หลังจากที่พวกเขามีปากเสียงกันภายในวันเกิดของเธอ
ครม. อนุมัติ แผนควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับชาติ ระยะที่ 2
คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติอนุมัติ แผนควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับชาติ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2565 – 2570) คาดหวังควบคุมปริมาณนักดื่ม และป้องกันการเกิดนักดื่มหน้าใหม่
(17 ส.ค. 2565) นายธนกร วังบุญคงชนะ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี แถลงมติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ แผนปฏิบัติการด้านควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับชาติ ระยะที่ 2 (แผนควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับชาติ ระยะที่ 2) ระยะเวลา 6 ปี พ.ศ. 2565 – 2570
โดยเป็นแผนต่อเนื่องมาจากยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ 2554 – 2563 ที่สิ้นสุดลง เพื่อควบคุมขนาดและความรุนแรงของปัญหาที่เกิดจาก ใน 4 เป้าหมาย ได้แก่
(1) ควบคุมและลดปริมาณการบริโภคของประชาชน
(2) ป้องกันนักดื่มหน้าใหม่และควบคุมจำนวนผู้บริโภค
(3) ลดความเสี่ยงจากการบริโภค ทั้งในมิติของปริมาณการบริโภค รูปแบบการบริโภค และพฤติกรรมหลังการบริโภค
(4) จำกัดและลดความรุนแรงของปัญหาจากการบริโภค การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสังคมไทยอย่างต่อเนื่อง
แผนปฏิบัติการฯ ประกอบด้วย 7 กลยุทธ์ ที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย ใน กรอบวงเงิน 339.30 ล้านบาท ดังนี้
– กลยุทธ์ที่ 1 ควบคุมและจำกัดการเข้าถึง เพื่อควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยรวมและในประชากรกลุ่มเสี่ยง ให้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นสินค้าราคาแพง หาซื้อยาก และเพิ่มสัดส่วนจำนวนประชากรต่อใบอนุญาตในการเข้าถึงจุดจำหน่ายของประชาชนขึ้นจากปี 2562 เช่น โครงการควบคุมจุดจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โครงการพัฒนาระบบและกลไกการบังคับใช้กฎหมาย งบประมาณ 96.70 ล้านบาท
– กลยุทธ์ที่ 2 ควบคุมพฤติกรรมการขับขี่หลังการดื่ม เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุจากการขับขี่ยานพาหนะภายหลังการดื่มแอลกอฮอล์ เช่น โครงการควบคุมพฤติกรรมการขับขี่หลังการดื่ม โครงการพัฒนาระบบการเก็บข้อมูล กรณีเมาแล้วขับ งบประมาณ 15 ล้านบาท
– กลยุทธ์ที่ 3 คัดกรองและบำบัดรักษาผู้มีปัญหาจากสุรา จัดการผู้มีปัญหาดื่มแอลกอฮอล์ให้ได้รับการดูแลรักษาตามมาตรฐานที่เหมาะสม เช่น โครงการพัฒนาหลักเกณฑ์และระบบติดตามผลการบำบัด ฟื้นฟูสภาพ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการบำบัดและผู้ดูแลรักษาผู้มีปัญหาจากสุรา โครงการพัฒนาและสนับสนุนการจัดบริการบำบัดรักษานอกระบบบริการสุขภาพ งบประมาณ 22.20 ล้านบาท
Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป